X

วัฒนธรรมใจกลางสยาม ที่ไม่มีวันหวนกลับมา

เปิดประวัติ โรงหนังสกาล่า ตำนานของชาวสยามสแควร์ที่ถูกทุ-บทิ้-ง

โรงหนังสกาลามรดกทางวัฒนธรรมใจกลางสยามที่กำลังหายไปแบบไม่มีวันหวนกลับมา การ-ทุ-บ-ทำ-ล-า-ย-โรงหนังสกาลาไม่ได้ทำลายเพียงสถานที่ แต่กำลัง-ฉี-ก-หน้าประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรมของไทย-ทิ้-ง-อย่างน่า-เ-สี-ย-ด-า-ย

สถาปัตยกรรมเปรียบเสมือนหลักฐานการย้อนประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่สุดชนิดหนึ่ง เพราะรูปแบบสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ มักมีเรื่องราวเชื่อมโยงกับ-เ-ห-ตุ-ก-า-ร-ณ์-หรือช่วงเวลาจำเพาะเจาะจงเสมอ

ดังนั้นการทำ-ล-า-ย-สถาปัตยกรรมอันล้ำค่า ณ ที่แห่งหนึ่งก็เหมือนการบ่อนทำ-ล-า-ย-ความรู้สึกและความทรงจำของผู้เคยไปเยี่ยมเยียนหรือพบเห็นสิ่งนั้นไม่มากก็น้อย แต่ที่สำคัญนอกจากอาคารจะ-สู-ญ-ส-ล-า-ย

กลายเป็นเศษหิน ปูน ทราย เรื่องราวในอดีตที่เคยถูกบันทึกไว้มาหลายปีหรือมากกว่าหลายชั่วอายุคนก็จะค่อย ๆ เลือนหายไปและไม่มีใครสามารถรื้อฟื้นมันมาได้อีกตลอดกาล

โรงหนังสกาลาเข้าข่ายผลงานสถาปัตยกรรมอันเป็นอมตะอยู่คู่สยามสแควร์มาอย่างยาวนาน รูปแบบอาคารที่ไม่เหมือนใคร ประกอบกับการตกแต่ง และประโยชน์การใช้สอย ยิ่งทำให้สกาล่าเปรียบดั่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ส่งทอดมานานร่วมครึ่งศตวรรษ

ช่วงแรกโรงหนังแห่งนี้สร้างความตื่นเต้นให้กับคนไทยอย่างมาก เพราะความโดดเด่นของสถาปัตยกรรมชวนทุกคนนึกถึงโรงละครที่ตกแต่งได้อย่างน่าสนใจของฝั่งยุโรป ซึ่งสกาลานับเป็นอาคารแรก ๆ ที่เดินหน้าพาวงการสถาปัตยกรรมไทยพัฒนาก้าวเดินสู่มิติใหม่แห่งการออกแบบ

ที่แห่งนี้จึงไม่ใช่แค่โรงภาพยนตร์แต่หมายถึงการปักหมุกทางประวัติศาสตร์ที่แสดงสัญลักษณ์ความรุ่งเรื่องและการเริ่มต้นพัฒนาด้านศิลปะยุคใหม่ของสังคมไทยได้เป็นอย่างดี

เปิด ประวัติ ‘โรงหนังสกาล่า’ ตำนานโรงหนังสุดคลาสสิคของชาวสยามสแควร์ที่อยู่มานานกว่า 51 ปี กำลังถูก-ทุ-บ-ทิ้-ง จนแฟนหนังต้องแห่กันออกมาโพสต์อาลัย

ปิดตำนานโรงหนังสุดคลาสสิคของชาวสยามสแควร์ไปอย่างเป็นทางการ หลังจากที่มีภาพ-คลิปวิดีโอการ-รื้-อ-ถ-อ-น-โรงหนังสแตนอโลนแห่งสุดท้าย กลายเป็นภาพความทรงจำครั้งสุดท้ายของเหล่าบรรดาแฟนหนังไทย

‘โรงหนังสกาลา‘ เป็นโรงหนังในเครือ ‘เอเพ็กซ์‘ ที่ถูกก่อตั้งโดย ‘พิสิฐ ตันสัจจา‘ ตั้งอยู่ในย่านสยามสแควร์ ถูกจดทะเบียน-ธุ-ร-กิ-จ-ในนาม ‘สยามมหรสพ‘ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511

โดยมีมูลค่าการจดทะเบียนสูงถึง 20 ล้-า-น-บ. ในขณะที่มีข่าวอีกฝั่งระบุว่า ‘บ-ริ-ษั-ท เอเพกซ์ภาพยนตร์ จำกัด‘ เป็นผู้จดทะเบียนทำ-ธุ-ร-กิ-จ-โรงหนังดังกล่าวด้วยมูลค่า 140 ล้ๅนบ.

สกาลา เป็นโรงหนังที่มีสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกตามสไตล์การฟิวชั่นระหว่างความเป็นตะวันตกและตะวันออก โดยตั้งชื่อตามโรงละคร ‘ลาสกาลา (Teatro alla Scala)‘ ที่เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี มีความจุ 800 ที่นั่ง

ประเดิมการฉายหนังเรื่องแรก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2512 เรื่อง ‘สองสิงห์ตะลุยศึก (The Undefeated)‘ ประกอบกิจการ-ธุ-ร-กิ-จ-มาอย่างต่อเนื่อง จนได้กลายเป็นหนึ่งในตำนานของชาวสยามสแควร์

จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทางโรงหนังได้ประกาศปิดตัว เนื่องจากสา-เ-ห-ตุ-การแพร่-ร-ะ-บ-า-ด-ของ-เ-ชื้-อ-ไ-ว-รั-ส-CD-19 ในประเทศ ส่งผลทำให้ยอดผู้เข้าชมลดลง ผนวกกับการแบกรับ-ภ-า-ร-ะ-ต้นทุนการเช่าพื้นที่ไม่ไหว

แม้สัญญาดังกล่าวจะสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2564 ก็ตาม โดยหนังเรื่องสุดท้ายที่ได้ฉายคือ ‘Cinema Paradiso‘ รอบเวลา 18.00 น. เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา

ทำให้ทาง ‘สมาคมสถาปนิกสยามในพระราชูปถัมภ์‘ รีบร่อนหนังสือต่อกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร เพื่อขอให้มีการแต่งตั้ง โรงหนังสกาลา ในฐานะ ‘โบราณสถาน‘ เนื่องจากมีความกังวลว่าสถานที่ดังกล่าวอาจถูกรื้อถอนหลังจากคืนพื้นที่ให้แก่ทาง ‘จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย‘

แต่ดูเหมือนว่าความพยายามดังกล่าวจะไม่เป็นผล หลังทาง ‘กรมศิลปากร‘ ผู้ที่กระทรวงวัฒนธรรมมอบหมายให้มีการตรวจสอบคำร้องข้างต้น

ได้ออกมาประกาศไม่รับขึ้นทะเบียน โรงหนังสกาลา เนื่องจากสถานที่ดังกล่าวเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ กลายเป็นการปิดม่านการแสดงกว่า 51 ปี ลงอย่างเป็นทางการ

ที่มา : thethaiger ,vogue ,Sanook

About ดาวพระศุกร์

View all posts by ดาวพระศุกร์ →