X

ผักชีที่ไม่ขา ยเป็นกำ แต่ข า ยเป็นตู้ ยอดข า ย วันละ 50,000 บา ท !!!

คุณ Tachikawa Ayumi หรือผู้ที่ถูกเรียกว่า “พี่สาวผักชี”

จากผักธรรมดาที่คนไทยเอาไว้โรยหน้า กลับกลายเป็น ก ร ะ แ ส  “ผักชีฟีเวอร์” ที่ฮิ ต สุด ขี ด ในประเทศญี่ปุ่น ถึงแม้ว่าจะ ฮิ ต มาได้สักระยะหนึ่ง แต่ความนิยมของผักชีในญี่ปุ่นนั้นก็ดูท่าว่าจะไม่ล ด ล ง เลย

เพราะล่าสุดสาวญี่ปุ่นถึงกับทำตู้กดผักชีอัตโนมัติเพื่อเอาใจคนที่ชอบผักชีให้สามารถกดซื้อกันตลอด 24 ชม. กันเลยทีเดียว

สาวคนดังกล่าวมีชื่อว่า Tachikawa Ayumi หรือที่รู้จักกันดีในฉายา “พี่สาวผักชี” หนึ่งในคนที่ชื่นชอบผักชีและมีสวนผักชีเป็นของตัวเอง

แต่เพราะผ ล ก ร ะ ท บ จากการถูก จำ กั ด เวลาเปิดปิดของร้านทำให้ยอดขายผักชีนั้น ล ด ล ง  เธอจึง ตั ด สิ น ใ จ ติดตั้งเครื่องจำหน่ายผักชีแบบหยอดเหรียญที่หน้าร้าน “PAKUCI SISTERS” ซึ่งเป็นร้านขายผักชีของเธอเอง

ซึ่งหลังจากที่วางตู้ขายผักชีก็ทำให้ย อ ด ข า ย ของเธอนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมาก ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะลูกค้าสามารถเดินมาเลือกซื้อสินค้าได้โดยไม่กลัวว่าร้านจะปิดไปแล้วหรือยัง แถมยัง ล ด ก ารเผชิญหน้าระหว่างคนขายกับลูกค้า

ถือเป็นการเพิ่มความสบายใจให้กับทั้งสองฝ่าย ซึ่งช่วงที่ขายได้ดีมากๆ ก็สามารถทำยอดขายไปได้สูงถึง 50,000 เ ย น /วัน หรือประมาณ 15,000  บ า  ท เลยทีเดียว

สำหรับสินค้าที่วางจำหน่ายในตู้กดหยอดเหรียญก็มีตั้งแต่ ผักชีสดที่เก็บจากสวนในราคา 900  เ ย น  /300 กรัม หรือประมาณ 270 บ า ท  รวมไปถึงสินค้าเกี่ยวกับผักชีอีกกว่า 10 รายการไม่ว่าจะเป็น แยมผักชีหรือผักชีตากแห้ง เป็นต้น

นอกจากนี้ก็ยังมีผลิตภัณฑ์ขนมปังหลายรูปแบบที่เธอร่วมกับเพื่อนที่เป็นเจ้าของร้านเบเกอรี่ ไม่ว่าจะเป็น ขนมปังกรอบรสผักชี คุกกี้ผักชี ขนมปังผักชี กราโนลาผักชี ผักชีสโนว์บอล เป็นต้น

ในส่วนหน้าร้านค้าของเธอเองก็ยังเปิดขายเช่นเดิมแต่เฉพาะแค่ช่วงเช้าของวันอาทิตย์เท่านั้น ซึ่งนี่ถือว่าเป็นการปรับตัวที่ตอบโจทย์สถานการณ์และกลุ่มลูกค้าอย่างมาก

เพราะเมื่อมีเครื่องกดผักชีอัตโนมัติแล้ว ลูกค้าหรือคนที่เดินผ่านไปผ่านมาก็สามารถเข้ามาซื้อได้ทุกเวลาไม่ต้องรอร้านเปิด แถมช่วยเบาแรงจากการเปิดร้านนั่งรอลูกค้าทั้งวันอีกด้วย

ปกติเห็นแต่ตู้กดน้ำหรือขนม พอเป็นผู้กดผักชีแบบนี้ก็ต้องยอมรับในไอเดียที่ยอดเยี่ยมและน่าเอาเป็นตัวอย่างมากจริงๆ

ภายในตู้มีสินค้าเกี่ยวกับผักชีประมาณ 10 ชนิด มีทั้ง “Fresh Pakuchi” หรือผักชีสดวางขายในราคา 900 เย น/ 300 กรัม รวมไปถึง “Pakuchi Paste” แยมผักชีในราคา 1,300 เ ย น  และ “Dry Pakuchi” หรือผักชีตากแห้งในราคา 800 เ ย น

นอกจากนี้ภายในตู้ยังมีผลิตภัณฑ์ขนมปังผักชีที่คุณ Tachikawa ร่วมมือกับเพื่อนที่บริหารจัดการร้าน “Bakery Heidi” ร้านขนมปังสุดน่าอร่อยในจังหวัดชิบะอีกหลายรายการ ได้แก่ Pakuchi Bread , Pakuchi Biscotti , Pakuchi Cookie , Pakuchi Granola และ Pakuchi Snowball ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นขนมที่มีส่วนผสมเป็นผักชีทั้งหมด !

การติดตั้งตู้จำหน่ายผักชีอัตโนมัตินี้ เริ่มมาจากที่คุณ Tachikawa พบว่าเวลาทำการของร้านอาหารสั้ น ล ง  และบางร้านก็ถึงกับปิดให้บริการชั่ ว ค ร า ว ไปเลย

การส่งออกผักชีจึงลดลงอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน คุณ Tachikawa จึงได้ไปปรึกษาเพื่อนที่เป็นเกษตรกร และเพื่อนได้แนะนำให้รู้จักกับตู้จำหน่ายของอัตโนมัติ

หลังจากที่ได้ลองติดตั้งตู้จำหน่ายผักชี บางช่วงก็มีช่วงที่ขายได้มากถึง 50,000 เ ย น ต่อวัน ซึ่งมากกว่าที่คุณ Tachikawa คาดการณ์เอาไว้ เพราะสินค้าขายดี ถึงจะเติมมาใหม่ก็แทบจะหมดในทันที

ร้าน “PAKUCI SISTERS” ของคุณ Tachikawa เปิดขายผักชีแค่เฉพาะเช้าวันอาทิตย์ แต่ด้วยการติดตั้งเครื่องจำหน่ายผักชีนี้ตรงหน้าร้าน ไม่เพียงแต่ลูกค้าประจำ เพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง รวมถึงบางคนที่อยู่ไกลและไม่สามารถมาซื้อผักชีได้ในเช้าวันอาทิตย์ ก็สามารถเข้ามาซื้อได้ทุกเวลาผ่านทางเครื่องนี้

อ้างอิง อายุน้อย 100 ล้าน, program