เรียนรู้ วิธีปรับตัวของ ezCater ธุรกิจจัดเลี้ยงสัมมนา 5 หมื่นล้าน ในยุคแห่งการประชุมออนไลน์
ใน ส ม ร ภู มิ ทาง ธุ ร กิ จ “ความแตกต่าง” ย่อมทำให้เรา “โดดเด่น” กว่า คู่ แ ข่ ง ดังนั้น ezCater จึงเลือกที่จะเป็นบริษัทดิลิเวอรีอาหาร ที่จับกลุ่มเป้าหมายแบบ B2B แทนที่จะเข้าสู่ตลาดเลือด ของการ แ ข่ ง ขั น ร า ค า กันไปมา เพื่อ แ ย่ งลูกค้าให้มาใช้บริการ
โดย ezCater จะ จั บ คู่ระหว่าง ร้านอาหาร แล ธุ ร กิ จ ที่ต้องการสั่งอาหารเป็นจำนวนมาก เพื่อมาจัดเลี้ยงในงานประชุม รวมถึงกิจกรรมขององค์กร ซึ่งการใช้กลยุทธ์นี้ ทำให้ ezCater โดดเด่นจากคู่แข่งรายอื่น รวมถึงไปเตะตาบริษัทนัก ล ง ทุ น รายใหญ่อย่าง SoftBank ที่ต้องการจะมาร่วมล ง ทุ น ในปี 2018
ที่น่าสนใจคือ ในเวลานั้น ezCater เลือกที่จะป ฏิ เ ส ธ เงินก้อนโต เนื่องจากไม่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกองทุน ที่ ล ง ทุ น ใน ธุ ร กิ จ ดิลิเวอรีส่งอาหารอื่น ๆ อีกหลายแห่ง อย่างไรก็ตาม เมื่อโควิด 19 แพ ร่ ร ะ บ า ด อย่างหนัก งานสัมมนาที่เคยจัด จึงแทบจะกลายเป็นศูนย์
พอเรื่องเป็นแบบนี้ ezCater มีวิธีปรับตัวอย่างไร แถมเมื่อสิ้นปี 2021 ที่ผ่านมา บริษัทยังสามารถ ร ะ ด ม ทุ น ไปได้อีก 3,400 ล้าน บ า ท
ezCater ก่อตั้งโดยคุณ Stefania Mallett และคุณ Briscoe Rodgers ในปี 2011 และอย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่า จุดที่ทำให้ ezCater แตกต่างจากบริการดิลิเวอรีเจ้าอื่น คือ “กลุ่มเป้าหมาย” ที่เป็นลูกค้า ธุ ร กิ จ ซึ่งต้องการสั่งอาหารไปจัดเลี้ยงในงานสัมมนาโดยเฉพาะ
แต่เมื่อเกิด โ ร ค ร ะ บ า ด อย่าง โ ค วิ ด 1 9 ขึ้น พฤติก ร ร ม ของคนทำงานก็เปลี่ยนไป โดยกลายเป็นการทำงานจากที่บ้าน หรือ Work from Homeประกอบกับมาตรการในการเว้นระยะห่าง และ ห ลี ก เ ลี่ ย ง การรวมตัวกัน ทำให้การจัดงานสัมมนา หรืองานอิเวนต์ต่าง ๆ ย่อมจะ ล ด ล ง ไปด้วย
ช่วงเวลานั้น ก ร ะ ท บ กับ ezCater ไปไม่น้อย ทั้งรายได้ที่ห า ยไปกว่า 85% และยังต้อง ไ ล่ พนักงานออก กว่า 400 คน จากทั้งหมด 900 คน ที่สำคัญ แม้ว่าสถา น ก า ร ณ์ จะเริ่ มค ลี่ ค ล า ย แ ล้ว แต่พฤติ ก ร ร ม ของคน ก็ยังมีแนวโน้มที่จะติดต่อและทำงานกันแบบออนไลน์มากขึ้นอยู่ดี
แล้ว ezCater แก้ ปั ญ ห า ในครั้งนี้อย่างไร ezCater ยังคงตั้งเป้าหมายเป็นลูกค้ากลุ่มเดิม นั่นก็คือ “กลุ่มลูกค้า ธุ ร กิ จ” แต่สิ่งที่เปลี่ยนไป คือการนำเสนอสินค้าในรูปแบบใหม่ จากเดิมจะเน้นไปที่งานสัมมนา หรืองานอิเวนต์ขององค์กร
ปัจจุบัน ก็หันมาจับกลุ่ม ธุ ร กิ จ ที่พนักงานไม่สามารถทำงานที่บ้านได้ เช่น พนักงานในโรงงานที่อยู่ในฝ่ายการผลิต หรือบุคลากรทางการแพทย์ ในขณะเดียวกัน ก็ยังออกอีกแพลตฟอร์ม ที่ชื่อว่า Relish เพื่อจับกลุ่มลูกค้าองค์กร ที่พนักงานสามารถทำงานแบบไฮบริด
โดยจะเข้ามาช่วยให้องค์กร สามารถจัดมื้ออาหารสำหรับพนักงานได้ ซึ่งความพิเศษอยู่ที่ พนักงานจะสามารถเลือกเมนูและร้านอาหารเองได้ ภายใต้ขอบเขตที่บริษัทนายจ้างกำหนดให้ จากนั้น ezCater จะเป็นผู้รวบรวม และนำมาส่งให้ในทีเดียว
ที่น่าสนใจคือ หลังจากที่เปิดตัวบริการนี้ไป ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ช่วยส่งผลให้พนักงานมีแรงจูงใจที่จะมาออฟฟิศมากขึ้นด้วย และในส่วนของ ezCater การปรับตัวนี้ ก็ช่ ว ย ให้เมื่อเกิดการ ร ะ บ า ด ร ะ ล อก ถัดมา บริษัทก็ได้รับผลก ร ะ ท บ ไม่รุ น แ ร ง เท่ากับครั้งแรก
แถมยังทำให้บริษัท เข้าไปสู่สายตาของ SoftBank อีกครั้ง โดยในเดือนธันวาคม ปี 2021 ที่ผ่านมา ezCater ประกาศว่าสามารถ ร ะ ด ม ทุ นใ นรอบ Series D-2 ได้ 3,400 ล้านบ า ท และหนึ่งในผู้ล ง ทุ น ก็คือ SoftBank Vision Fund 2
ทำให้เงินที่บริษัทสามารถร ะด ม ทุ น มาได้ ตั้งแต่ก่อตั้งบริษัท รวมเป็น 15,000 ล้าน บ า ท ขึ้นแท่นเป็นยูนิคอร์นของสหรัฐฯ ด้วยมู ล ค่ า บริษัทที่ 55,000 ล้าน บ า ท
และนี่ก็เป็นอีกหนึ่งกรณีศึกษาที่น่าสนใจจาก ezCater บริษัทที่มองหาความแตกต่าง จนโ ด ด เ ด่ น แต่ก็ไม่ยึ ด ติ ด กับความสำเร็จแบบเดิมตลอดไป เพราะเมื่อล้ม ก็เรียนรู้ที่จะลุกขึ้นมาใหม่ อีกครั้ง..